สรุปให้ วิธีลงทะเบียน ม.40 ผู้ประกันตน ผ่านเว็บไซต์ประกันสังคม


เช็กสิทธิ์มาตรการเยียวยาผู้ประกันตนมาตรา 40

ตรวจสอบใส่เลขบัตรประชาชนของเรา > https://www.sso.go.th/covidcompensate40/covid-compensate/checkM40Compensation.jsp


ติดต่อและสอบถามประกันสังคม


ลงทะเบียนออนไลน์ผู้ประกันตน ม.40 ผู้ประกอบอาชีพอิสระ (freelance)

ระบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนตามมาตรา 40 (ลงทะเบียนผู้ประกันตน ม.40 ออนไลน์ สำนักงานประกันสังคม)

กดลงทะเบียนออนไลน์ > https://www.sso.go.th/section40_regist/

คือ บุคคลทั่วไปที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 65 ปีบริบูรณ์ ประกอบอาชีพอิสระ ทำงานไม่มีนายจ้าง พ่อค้าแม่ค้า แม่บ้าน รับจ้างทั่วไป

หรือ ม.40 สำหรับผู้สมัครใหม่ เอาบัตรประชาชนไปสมัครที่ร้านเซเว่น 7-11 ทุกสาขา , ธนาคาร ธ.ก.ส. และ


กรณี! จ่ายเงินแล้ว สถานะการชำระเงินผู้ประกันตน ไม่เปลี่ยนเป็นผู้ประกันตน มาตรา 40

เก็บหลักฐานการสมัครและจ่ายเงินสบทบไว้ ถ่าย แคปหน้าจอ ใบเสร็จ ทุกสิ่งทุกอย่าง แจ้งผ่านประกันสังคม


กรณีเปลี่ยนแปลงชื่อ นามสกุล ที่อยู่ใหม่

เอกสารสำเนาที่เกี่ยวข้องกัน เช่น บัตรประจําตัวประชาชน , ทะเบียนบ้าน , ทะเบียนเปลื่ยนชื่อตัว หรือชื่อสกุล

กด > แบบฟอร์ม สปส. 1-40/1 แบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงและทางเลือกการนำส่งเงินสมทบผู้ประกันตนตามมาตรา 40

เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผู้ประกันตน มาตรา 40

สรุปให้ วิธีลงทะเบียน ม.40 ผู้ประกันตน ผ่านเว็บไซต์ประกันสังคม
ประกันสังคมมาตรา 40 https://www.sso.go.th/section40_regist/

ลงทะเบียนเรียบร้อยแล้ว! จ่ายเงินแล้ว! อยากตรวจสอบข้อมูลผู้ประกันตน มาตรา 40 และสถานะการชำระเงินผู้ประกันตน

กรณี! จ่ายเงินแล้ว สถานะการชำระเงินผู้ประกันตน ไม่เปลี่ยนเป็นผู้ประกันตน มาตรา 40 เก็บหลักฐานการสมัครและจ่ายเงินสบทบไว้ ถ่าย แคปหน้าจอ ทุกสิ่งทุกอย่าง แจ้งผ่านประกันสังคม


  • ไม่เคยเข้าใช้งานมาก่อน ต้องสมัครขอรหัสผ่าน! (ลงทะเบียน ม.40 แล้วก็ต้องสมัครขอรหัสผ่าน!) 
    • https://www.sso.go.th/wpr/main/register
    • เตรียมข้อมูลพื้นฐาน หมายเลขบัตรประชาชน , เบอร์มือถือ , รหัสผ่าน , อีเมล และข้อมูลส่วนตัว
  • เข้าระบบเว็บไซต์ประกันสังคม กรณีมีรหัสผ่านแล้ว!
  • ลืมรหัส ไม่ทราบรหัสผ่าน
    • เตรียมข้อมูลเบื้องต้น เลขบัตรประชาชน เบอร์โทรศัพท์
สรุปให้ วิธีลงทะเบียน ม.40 ผู้ประกันตน ผ่านเว็บไซต์ประกันสังคม

อย่าลืม! ผู้ประกันตนที่ได้รับการเยียวยา จะได้รับเงินผ่านการโอนเข้าบัญชีพร้อมเพย์ที่ผูกกับเลขประจำตัวประชาชนเท่านั้น เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการโอนเงินเข้าบัญชี ที่มา https://www.facebook.com/ssofanpage/

อ่าน > วิธีผูกพร้อมเพย์เลขบัตรประชาชนกับแอปธนาคาร


เตรียมข้อมูลพื้นฐานก่อนลงทะเบียน ม.40 เลขบัตรประชาชน เลขหลังบัตรประชาชน ชื่อนามสกุล วันเดือนปีเกิด และอีเมล์

  • 1.กรอกข้อมูลส่วนตัว
  • 2.รายละเอียดข้อมูลติดต่อ
  • 3.เลือกรูปแบบสิทธิประโยชน์และความคุ้มครองได้ 3 ทางเลือก
    • ทางเลือก 1 คุ้มครองเจ็บป่วย ทุพพลภาพ เสียชีวิต จ่าย 70 บาททุกเดือน
    • ทางเลือก 2 คุ้มครองเจ็บป่วย ทุพพลภาพ เสียชีวิต ชราภาพ จ่าย 100 บาททุกเดือน
    • ทางเลือก 3 คุ้มครองเจ็บป่วย ทุพพลภาพ เสียชีวิต ชราภาพ สงเคราะห์บุตร จ่าย 300 บาททุกเดือน
  • 4.เลือกว่าเป็น ข้าราชการบำเหน็จบำนาญหรือไม่
  • 5.รอ SMS ยืนยันการสมัคร
  • 6.เมื่อได้รับ SMS แล้ว ให้จ่ายเงินค่าลงทะเบียน ที่ (เซเว่น) โลตัส บิ๊กซี ธนาคาร ธนาคารกรุงศรี ธ.ก.ส. ตู้บุญเติม CanPay Shopee Pay หรือจุดบริการที่สัญลักษณ์
  • 7.เมื่อชำระเงินแล้ว ต้องเก็บหลักฐานการชำระเงินไว้ เนื่องจากสิทธิเป็นผู้ประกันตน มาตรา40 จะเริ่มตั้งแต่วันที่ชำระเงินเป็นต้นไป
สรุปให้ วิธีลงทะเบียน ม.40 ผู้ประกันตน ผ่านเว็บไซต์ประกันสังคม

ส่งเงินผู้ประกันตน ม.40 ได้ที่ไหน ? ส่งเงินผู้ประกันตนเอง

  • เคาน์เตอร์เซอร์วิส 7-11 > บอกเลขบัตรประชาชน
  • เคาเตอรธนาคาร์
    • ธนาคารกรุงไทย
    • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
    • ธนาคารเพื่อการและสหกรณ์การเกษตร ธ.ก.ส. 
    • เคาน์เตอร์เทสโก้
    • เคาน์เตอร์เซอร์วิส บิ๊กซี
  • หักผ่านเงินฝากธนาคาร
  • แอป shopeepay
    • โหลดและติดตั้งแล้ว กดปุ่มจ่ายบิล
    • กดบิลประกัน และประกันสังคม เลือกประกันสังคม มาตรา 40
    • หรือกดปุ่มค้นหาบิล > พิมพ์ว่า ประกันสังคม มาตรา 40
    • กรอกเลขบัตรประชาชน > ทำขั้นตอนตามแอป shopeepay ต่อไปจนเสร็จ ตรวจสอบรายละเอียดก่อนจ่าย
    • Call center shopeepay 02-118-9170

แอป SSO Connect Mobile บริการด้านประกันสังคม ผ่านทาง Mobile Application

  • สำหรับผู้ประกันตน สามารถลงทะเบียนเพื่อใช้งานแอพพลิเคชั่นได้ที่หน้าเว็บไซต์ และบนโมบายแอพพลิเคชั่น ผู้ประกันตนสามารถสอบถามและตรวจสอบข้อมูลของตนได้ดังต่อไปนี้
    • ตรวจสอบสถานพยาบาล
    • ตรวจสอบยอดเงินชราภาพ
    • ตรวจสอบการส่งเงินสมทบ
    • ตรวจสอบยอดเงินทันตกรรม
    • เปลี่ยนสถานพยาบาลประจำปี
    • และบริการประชาชนที่จะตามมาให้บริการในอนาคต

โหลดแอป SSO Connect Mobile

ทำความเข้าใจผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40

เราผู้ประกันตนตามมาตราแบบไหน ? (33 , 39 และ 40)

  • ผู้ประกันตนมาตรา 33 (ทำงานประจำ) ลูกจ้าง-พนักงานบริษัท ที่ทำงานประจำกับหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน ไม่ต้องส่งเงินผู้ประกันตนเอง แต่หน่วยงานดำเนินการหักจากเงินเดือนให้ประจำทุกเดือน จนกว่าลาออก
  • ผู้ประกันตนมาตรา 39 (เคยทำงานประจำ) ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 นำส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือนและออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วันที่ลาออกจากงาน และต้องส่งเงินผู้ประกันตนเองทุกเดือน
  • ผู้ประกันตนมาตรา 40 (ไม่ได้ทำงานประจำ) ผู้ที่ไม่ได้เป็นลูกจ้างหรือพนักงานบริษัทเอกชน เช่น อาชีพอิสระ , แรงงานนอกระบบ และต้องส่งเงินผู้ประกันตนเองทุกเดือน

สิทธิประกันสังคม ผู้ประกันตน ม.40

สรุปให้ วิธีลงทะเบียน ม.40 ผู้ประกันตน ผ่านเว็บไซต์ประกันสังคม
  • เงินทดแทนการขาดรายได้ (ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย)
  • ทุนพลภาพ
  • ชราภาพ
  • สงเคราะห์บุตร
  • ตาย

ทางเลือกจ่ายแบบไหนดี ? จ่ายวันไหนก็ของเดือน

  • ทางเลือกจ่ายแบบ 1 จ่าย 70 บาททุกเดือน
    • เงินทดแทนการขาดรายได้ (ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย)
    • ทุพพลภาพ
    • ตาย (ค่าทำศพ)
  • ทางเลือกจ่ายแบบ 2 จ่าย 100 บาททุกเดือน
    • เงินทดแทนการขาดรายได้ (ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย)
    • ทุพพลภาพ
    • ตาย (ค่าทำศพ)
    • ชราภาพ (รับบําเหน็จ)
  • ทางเลือกจ่ายแบบ 3 จ่าย 300 บาททุกเดือน
    • เงินทดแทนการขาดรายได้ (ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย)
    • ทุพพลภาพ
    • ตาย (ค่าทำศพ)
    • ชราภาพ (รับบําเหน็จ)
    • สงเคราะห์บุตร

ทุพพลภาพ หมายความว่า การสูญเสียอวัยวะหรือสูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะหรือของร่างกาย หรือสูญเสียภาวะปกติของจิตใจจนไม่สามารถทำงานได้ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการการแพทย์กำหนด ที่มา https://lb2.mol.go.th/


สอบถามเพิ่มเติม สำนักงานประกันสังคม


สรุป! วิธีลงทะเบียน ม.40 ผู้ประกันตน ผ่านเว็บไซต์ประกันสังคม

ผู้ประกันตน ม.40 ผู้ประกอบอาชีพอิสระ (freelance)
คือ บุคคลทั่วไปที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 65 ปีบริบูรณ์ ทำงานไม่มีนายจ้าง

กด > ลงทะเบียนผู้ประกันตน ม.40 ออนไลน์ https://www.sso.go.th/

เตรียมข้อมูลพื้นฐานก่อนลงทะเบียน ม.40 เลขบัตรประชาชน เลขหลังบัตรประชาชน ชื่อนามสกุล วันเดือนปีเกิด และอีเมล์

1.กรอกข้อมูลส่วนตัว
2.รายละเอียดข้อมูลติดต่อ
3.เลือกรูปแบบสิทธิประโยชน์และความคุ้มครองได้ 3 ทางเลือก
> ทางเลือก 1 คุ้มครองเจ็บป่วย ทุพพลภาพ เสียชีวิต
> ทางเลือก 2 คุ้มครองเจ็บป่วย ทุพพลภาพ เสียชีวิต ชราภาพ
> ทางเลือก 3 คุ้มครองเจ็บป่วย ทุพพลภาพ เสียชีวิต ชราภาพ สงเคราะห์บุตร
4.เลือกว่าเป็น ข้าราชการบำเหน็จบำนาญหรือไม่
5.รอ SMS ยืนยันการสมัคร
6.เมื่อได้รับ SMS แล้ว ให้จ่ายเงินค่าลงทะเบียน ที่ เคาน์เตอร์เซอร์วิส (เซเว่น) โลตัส บิ๊กซี ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงศรี ธ.ก.ส. ตู้บุญเติม CanPay Shopee Pay หรือจุดบริการที่สัญลักษณ์
7.เมื่อชำระเงินแล้ว ต้องเก็บหลักฐานการชำระเงินไว้ เนื่องจากสิทธิเป็นผู้ประกันตน มาตรา40 จะเริ่มตั้งแต่วันที่ชำระเงินเป็นต้นไป

สิทธิประกันสังคม ผู้ประกันตน ม.40

เงินทดแทนการขาดรายได้ (ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย)
ทุนพลภาพ
ชราภาพ
สงเคราะห์บุตร
ตาย

ส่งเงินผู้ประกันตน ม.40 ได้ที่ไหน ? ส่งเงินผู้ประกันตนเอง

เคาน์เตอร์เซอร์วิส 7-11 > บอกเลขบัตรประชาชน

เคาเตอรธนาคาร์ธนาคารกรุงไทย
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธ.ก.ส. 
เคาน์เตอร์เทสโก้
เคาน์เตอร์เซอร์วิส บิ๊กซี

แอป shopeepay
โหลดแล้ว กดปุ่มจ่ายบิล > กดปุ่มค้นหาบิล อยู่ล่างจอมือ > พิมพ์ว่า ประกันสังคม มาตรา 40 > กรอกเลขบัตรประชาชน > ทำขั้นตอนตามแอป shopeepay ต่อไปจนเสร็จ ตรวจสอบรายละเอียดก่อนจ่าย
กด > Apple Store
กด > Google Play

ทางเลือกจ่ายแบบไหนดี ?

ทางเลือกจ่ายแบบ 1 จ่าย 70 บาททุกเดือน
เงินทดแทนการขาดรายได้ (ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย)
เงินทดแทนการขาดรายได้ กรณีทุพพลภาพ
ตาย (ค่าทำศพ)

ทางเลือกจ่ายแบบ 2 จ่าย 100 บาททุกเดือน
เงินทดแทนการขาดรายได้ (ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย)
เงินทดแทนการขาดรายได้ กรณีทุพพลภาพ
ตาย (ค่าทำศพ)
ชราภาพ (รับบําเหน็จ)

ทางเลือกจ่ายแบบ 3 จ่าย 300 บาททุกเดือน
เงินทดแทนการขาดรายได้ (ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย)
เงินทดแทนการขาดรายได้ กรณีทุพพลภาพ
ตาย (ค่าทำศพ)
ชราภาพ (รับบําเหน็จ)
สงเคราะห์บุตร

เราผู้ประกันตนตามมาตราแบบไหน ? (33 , 39 และ 40)

– ผู้ประกันตนมาตรา 33 (ทำงานประจำ) ลูกจ้าง-พนักงานบริษัท ที่ทำงานประจำกับหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน ไม่ต้องส่งเงินผู้ประกันตนเอง แต่หน่วยงานดำเนินการหักจากเงินเดือนให้ประจำทุกเดือน จนกว่าลาออก
– ผู้ประกันตนมาตรา 39 (เคยทำงานประจำ) ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 นำส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือนและออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วันที่ลาออกจากงาน และต้องส่งเงินผู้ประกันตนเองทุกเดือน
– ผู้ประกันตนมาตรา 40 (ไม่ได้ทำงานประจำ) ผู้ที่ไม่ได้เป็นลูกจ้างหรือพนักงานบริษัทเอกชน เช่น อาชีพอิสระ , แรงงานนอกระบบ และต้องส่งเงินผู้ประกันตนเองทุกเดือน

เบอร์ติดต่อธนาคาร สอบถามเรื่อง “ผูกพร้อมเพย์เลขบัตรประชาชนกับแอปธนาคาร

แอป ธ.ก.ส. A-Mobile ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โทร 02 555 0555
แอป SCB EASY ธนาคารไทยพาณิชย์ โทร 02 777 7777
แอป โมบายแบงก์กิ้ง ธนาคารกรุงเทพ โทร 1333
แอป Krungthai NEXT ธนาคารกรุงไทย โทร 02 111 1111
แอป K PLUS ธนาคารกสิกรไทย โทร 02 888 8888
แอป ‎MyMo By GSB ธนาคาออมสิน โทร 1115
แอป KMA-Krungsri Mobile App ธนาคารกรุงศรี โทร 1572
แอป ทีทีบี ทัช ธนาคารทีเอ็มบีธนชาต โทร 1428


Related Posts