สรุปวันไหน ? ผู้ประกันตนมาตรา 40 39 33 (กรณีไม่ได้รับสิทธิประกันสังคม)


ไม่ได้เงินเยียวยามาตรา 40 มาตรา 39 และมาตรา 33 (กรณีไม่ได้รับสิทธิเยียวยาประกันสังคม)


ระยะเวลาสมัครและชำระเงินสมทบผู้ประกันตนมาตรา 40 เพื่อผ่านทางพร้อมเพย์เลขประจำตัวประชาชน

เก็บหลักฐานการจ่ายเงินสมทบ กรณีไม่ได้รับสิทธิ

  • 19 จังหวัด สมัครและชำระเงินสมทบ ภายในวันที่ 24 สิงหาคม 2564
    • กาญจนบุรี สมุทรสงคราม สุพรรณบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี อ่างทอง นครนายก ปราจีนบุรี ลพบุรี ระยอง สิงห์บุรี สระบุรี นครราชสีมา เพชรบูรณ์ ตาก ชลบุรี ฉะเชิงเทรา และพระนครศรีอยุธยา
    • ที่มา https://www.facebook.com/ssofanpage/posts/4283016648443793
  • 13 จังหวัด สมัครและชำระเงินสมทบ ภายในวันที่ 10 สิงหาคม 2564
    • 10 จังหวัด กรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา
    • 3 จังหวัด ชลบุรี ฉะเชิงทรา พระนครศรีอยุธยา
      • ที่มา “ผู้ประกอบอาชีพอิสระ” สมัครผู้ประกันตนมาตรา 40 แล้ว รีบจ่ายเงินสมทบให้ทันภายใน 31 ก.ค. 64 https://www.facebook.com/ssofanpage/posts/4207183246027134
      • ที่มา ด่วน! “แรงงานอิสระ” ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด 13 จังหวัดที่สมัคร ม.40 แล้ว ชำระเงินงวดแรกไม่ทันในเดือน ก.ค.64 ให้รีบจ่ายภายในวันที่ 10 ส.ค. https://www.facebook.com/ssofanpage/posts/4224786440933481

ข้อมูลเงินเยียวยาประกันสังคมอาจจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

ข้อมูลสิทธิ (ได้รับสิทธิและไม่ได้รับสิทธิ) , วันโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร และทบทวนสิทธิเยียวยา ติดตามข่าวเพิ่มเติมเพจ (https://www.facebook.com/ssofanpage/) หรือ 1506


เงื่อนไขอะไรบ้าง ? ต้องทบทวนสิทธิเยียวยาประกันสังคม

19 จังหวัด สมัครและชำระเงินสมทบ ภายในวันที่ 24 สิงหาคม 2564
13 จังหวัด สมัคร 31 กรกฎาคม 2564 และชำระเงินสมทบ ภายในวันที่ 10 สิงหาคม 2564

ไม่ได้สมัครประกันสังคม หรือจ่ายเงินสมทบไม่ทัน ไม่ตรงตามวันที่กำหนดไว้ จะไม่ได้รับเงินเยียวยา และยื่นทบทวนไม่ได้

สมัครและจ่ายเงินทัน ตามประกันสังคมกำหนดระยะเวลาเอาไว้ แต่ไม่ได้รับสิทธิ

waiting first payment 1

ขึ้นสถานะรอชําระเงินงวดแรก (ยังไม่เป็นผู้ประกันตน) สมัครและจ่ายเงินแล้ว แต่สถานะไม่ขึ้น

เก็บหลักฐานการจ่ายเงินสมทบ

ตามที่ประกันสังคมแจ้ง ผู้ประกันตนมาตรา 40 เมื่อสมัครแล้ว และได้มีการชำระเงินสมทบถือว่าเป็นผู้ประกันตนโดยสมบูรณ์ แนะนำให้เก็บหลักฐานการจ่ายเงินสมทบ แล้วรอการตรวจสอบภายหลัง หรือแจ้งหมายเลขบัตรประจำตัวประชาชนตรวจสอบได้ที่
– ระบบสนทนาออนไลน์ (facebook inbox , live chat)
– สายด่วน 1506 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง

ตรวจสอบสิทธิเยียวยาแล้ว ไม่รับสิทธิ รอทางประกันสังคมปรับปรุงข้อมูลเข้าระบบประกันสังคม ที่จ่ายตามเคาน์เตอร์เซอร์วิส 7-11 , shopeepay หรือตามห้างที่ให้บริการ

ระยะเวลาเปลี่ยนสถานะ 2-3 วัน หรือมากกว่านี้

เข้าระบบประกันสังคม ตรวจสอบสถานะผู้ประกันตน
> สมัครขอรหัสผ่าน! https://www.sso.go.th/wpr/main/register
> มีรหัสผ่านแล้ว เข้าระบบประกันสังคม https://www.sso.go.th/wpr/main/login

ตรวจสอบสิทธิเงินเยียวยา
https://www.sso.go.th/eform_news/

ตรวจสอบสิทธิ และสถานะระยะเวลาการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร ตามมาตรการเยียวยาผู้ประกันตนมาตรา 40 39 33

ในกิจการที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการของรัฐในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด กด > https://www.sso.go.th/eform_news/


ไม่ได้รับสิทธิ

วันแรกได้รับสิทธิเยียวยา วันต่อมาเช็คไม่ได้รับสิทธิเยียวยาแล้ว

สมัครและจ่ายเงินสบทบตามระยะเวลา ในพื้นที่ที่ประกันสังคมกำหนดไว้

  • สมัครและจ่ายเงินสบทบตามระยะเวลา ในพื้นที่ที่ประกันสังคมกำหนดไว้
  • เก็บหลักฐานการจ่ายเงินสมทบ
  • สถานะเป็นผู้ประกันตนเรียบร้อยแล้ว
  • ตรวจสอบสิทธิแล้ว (https://www.sso.go.th/eform_news/) ไม่ได้รับสิทธิเยียวยาแล้ว
  • รอทบทวนสิทธิเยียวยาผู้ประกันตน วันที่ 1 – 30 กันยายน 2564 ขั้นตอนและการทบทวนสิทธิเยียวยา รอประกาศทางการที่เพจ สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน และ https://www.sso.go.th/

ได้รับสิทธิ

แต่เงินเยียวยาไม่โอนเข้าบัญชี

โอนเงินเยียวยาไม่สำเร็จ เพิ่งผูกพร้อมเพย์ หรือเปลี่ยนแปลงบัญชีพร้อมเพย์

  • ตรวจสอบบัญชีธนาคารผูกพร้อมเพย์ด้วยบัตรประชาชนเรียบร้อยแล้ว
  • ให้รอตามคิวและรอบการโอนเงิน
  • จากข้อมูล 25 ส.ค. 64 > ตรวจสอบการโอนเงินเข้าบัญชี > วันพฤหัสบดี แต่ละสัปดาห์
  • ตรวจสอบสถานะ > https://www.sso.go.th/eform_news/

ตรวจสอบสิทธิ และสถานะระยะเวลาการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร ตามมาตรการเยียวยาผู้ประกันตนมาตรา 40 39 33

  • ในกิจการที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการของรัฐในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด
  • กด > https://www.sso.go.th/eform_news/

#สรุปให้ ตรวจสอบสถานะโครงการเยียวยาผู้ประกันตนมาตรา 40 ผ่านเว็บไซต์ประกันสังคม

Related Posts